ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ |
1. ทันสมัย / ทันเหตุการณ์ / ทันข้อมูลข่าวสาร / ทันโลก ช่วยให้เราสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก
2. ช่วยให้การเรียน การทำงาน ทันสมัยและไรับความสะดวกมากยิ่งขึ้น เช่น ได้เรียนรู้จากสื่อที่ทันสมัยที่สร้างด้วยคอมพิวเตอร์
ที่เรียกว่า โปรแกรม CAI
ที่เรียกว่า โปรแกรม CAI
3. เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ดีเยี่ยม ช่วยในการค้นคว้าหาความรู้เป็นห้องสมุดขนาดใหญ่
4. ช่วยรับ - ส่งข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว
5. ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด เช่น เกม ดูภาพยนตร์ ฟังเพลง ร้องเพลง
6. ช่วยสร้างงานศิลปะ ออกแบบชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์ สวยงาม
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. ประโยชน์ทางตรง
ช่วยให้มนุษย์ทำงานได้โดยตรงคือคอมพิวเตอร์ทำงานได้เที่ยงตรง รวดเร็ว ไม่เหน็ดเหนื่อย ช่วยผ่อนแรงมนุษย์ ในด้านต่าง ๆ
เช่น ด้านการคำนวณ พิมพ์งาน บันทึกข้อมูล ประมวลผล ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานในแวดวงใน หากนำคอมพิวเตอร์เข้าช่วยงาน
จะช่วยแบ่งเบาภาระงานได้เป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพ
เช่น ด้านการคำนวณ พิมพ์งาน บันทึกข้อมูล ประมวลผล ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานในแวดวงใน หากนำคอมพิวเตอร์เข้าช่วยงาน
จะช่วยแบ่งเบาภาระงานได้เป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพ
2. ประโยชน์ทางอ้อม
คอมพิวเตอร์ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น ช่วยในการเรียนรู้ให้ความปันเทิงความรู้ ช่วยงานบันเทิงพัฒนางานด้านต่าง ๆ
เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีอันส่งผลให้ความเป็นอยู่ของมนุษย์ดีขึ้น เป็นต้น
เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีอันส่งผลให้ความเป็นอยู่ของมนุษย์ดีขึ้น เป็นต้น
อ้างอิง http://www.thaigoodview.com
ประโยชน์
จากการที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการ ทำให้ถูกนำมาใช้ประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตประจำวันในสังคมเป็นอย่างมาก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงาน เอกสารต่างๆ ซึ่งเรียกว่างานประมวลผล ( word processing ) นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้าน ดังต่อไปนี้
1. งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำบัญชี งานประมวลคำ และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ก็ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่งทำให้การผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถรับ หรืองานธนาคาร ที่ให้บริการถอนเงินผ่านตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝากเงิน และการโอนเงินระหว่างบัญชี เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย
2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในนำมาใช้ในส่วนของการคำนวณที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สำหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซึ่งจะให้ผลที่แม่นยำกว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิม และให้การรักษาได้รวดเร็วขึ้น
3. งานคมนาคมและสื่อสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา ที่นั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ ทำให้สะดวกต่อผู้เดินทางที่ไม่ต้องเสียเวลารอ อีกทั้งยังใช้ในการควบคุมระบบการจราจร เช่น ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสารก็ใช้ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อให้อยู่ในวงโคจร ซึ่งจะช่วยส่งผลต่อการส่งสัญญาณให้ระบบการสื่อสารมีความชัดเจน
4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือ จำลองสภาวการณ์ ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดยคอมพิวเตอร์จะคำนวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทำงาน
5. งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยมีการใช้หลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาทและหน้าที่ของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์ , กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันต่างๆ , กรมสรรพากร ใช้จัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น
6. การศึกษา ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอน ซึ่งมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานด้านทะเบียน ซึ่งทำให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียน การเก็บข้อมูลยืมและการส่งคืนหนังสือห้องสมุด
1. การใช้งานภาครัฐ งานทะเบียนราษฎร์ของรัฐบาล เช่น การแจ้งเกิด ตาย ย้ายที่อยู่ การทำบัตรประจำตัวประชาชน งานภาษี เช่น ยื่นแบบประเมินภาษีภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต เก็บทะเบียนประวัติผู้เสียภาษี ตรวจสอบการเสียภาษี
2. งานสายการบิน การสำรองที่นั่งผู้โดยสาร การลดงานเอกสาร
3. ทางด้านการศึกษา สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนออนไลน์ให้กับผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล
4. ธุรกิจการนำเข้าสินค้าและส่งออก การทำธุรกิจแบบพาณิชอิเล็กทรอนิกส์
5. ธุรกิจธนาคาร ช่วยด้านงานข้อมูลธนาคาร รับ-จ่ายเงิน เก็บประวัติลูกค้า ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ การทำธุรกรรมผ่านโทรศัพท์มือถือ
6. วิทยาศาสตร์และการแพทย์ การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการรักษาของคนไข้ วิจัย คำนวณ และ การจำลองแบบ
7. งานสถาปนิก ช่วยออกแบบ เขียนแบบ หรือทำแบบจำลองสามมิติ
8. งานภาพยนตร์ การ์ตูน แอนิเมชัน ช่วยสร้างตัวการ์ตูนเคลื่อนไหว ออกแบบตัวการ์ตูน จำลองตัวการ์ตูนสามมิติ การตัดต่อภาพยนตร์
9. งานด้านสถิติ ช่วยเก็บบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ จำลองแบบข้อมูล และการเผยแพร่ข้อมูล ตรวจสอบราคาวัสดุก่อสร้าง
10. ด้านสันทนาการ ช่วยให้ความบันเทิง ดูหนัง ฟังเพลง ร้องคาราโอเกะ เล่นเกม
และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ยังมีิีอีกมากมาย ที่เราต้องศึกษาเพิ่มเติม ทุกๆวัน
คอมพิวเตอร์กับธุรกิจทั่วไป
บริษัททั่วไปมักใช้คอมพิวเตอร์ในงานหลายอย่างซึ่งก่อให้เกิดความสะดวกต่อผู้ใช้และลูกค้าเช่น การพิมพ์ใบสั่งสินค้า การพิมพ์ใบเสร็จ การทำบัญชีลูกค้า การควบคุมสินค้าคงคลัง การจ่ายเงินเดือน การคำนวณค่าแรงพนักงาน การทำบัญชีลูกหนี้เจ้าหนี้
คอมพิวเตอร์กับธนาคาร
ธนาคารพาณิชย์ทั่วไปนำคอมพิวเตอร์ไปใช้ในงานด้านต่าง ๆ เช่น การบริการลูกค้าโดยช่วยด้านการฝาก - ถอนเงินของลูกค้า ทำให้สามารถฝาก - ถอนได้ต่างสาขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำระบบการบริการเงินอัตโนมัติหรือเอทีเอ็ม ( Automatic Teller Machine) ซึ่งเป็นระบบ On - line Banking ซึ่งสามารถทำให้ฝาก - ถอนเงินสดได้อย่างรวดเร็ว งานด้านภายในของธนาคารที่จำเป็นต้องนำระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยจึงจะทำให้ทำงานได้ตามความต้องการของลูกค้า เช่นการนำข้อมูลเงินฝาก เช่น เลขที่บัญชียอดคงเหลือ ในบัญชี บันทึกไว้ในคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ด้านการแพทย์
ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยงานด้านการแพทย์หลายด้าน เริ่มจากการเก็บประวัติคนไข้ ในห้องทดลองประกอบการวินิจฉัยของแพทย์ใช้ในการตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ การผ่าตัดหัวใจ การตรวจสอบห้องพักผู้ป่วยว่าว่างหรือไม่ การควบคุมแสงเลเซอร์ให้เป็นวิถีทางที่ต้องการการเอ็กซ์เรย์ ซึ่งช่วยสร้างภาพหลายมิติ ทำให้การวินิจฉัยโรค และได้ตำแหน่งที่แน่นอนของโรคได้ดีขึ้น โดยเฉพาะการตรวจสมองและเช็คคลื่นหัวใจ
คอมพิวเตอร์กับการศึกษา
ในปัจจุบันได้นำคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยเกี่ยวกับงานวัดผล เช่น การเก็บข้อสอบรวบรวมไว้เป็นธนาคารข้อสอบ และคำตอบในเครื่อง สามารถให้นักศึกษาทำข้อสอบลงเครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อเสร็จแล้วก็สั่งให้คอมพิวเตอร์คำนวณหาผลคะแนนสอบของนักศึกษาได้ทันที การวัดผลวิธีนี้ทำได้อย่างสะดวก รวดเร็ว มีความแม่นยำ นอกจากนี้การใช้คอมพิวเตอร์กับการศึกษา ได้มีบทบาทมากขึ้นเมื่อผู้สอนจะเป็นผู้เริ่มเขียนโปรแกรมเอง โปรแกรมที่ใช้การศึกษาเรียกว่า Computer - Assisted Instruction ( CAI ) โปรแกรมชนิดนี้มีภาพ ข้อความและเสียง ที่ใช้ประกอบการเรียน การวิจัยต่าง ๆ
คอมพิวเตอร์กับอุตสาหกรรม
การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับงานอุตสาหกรรม เช่น ควบคุมการให้ส่วนผสม การควบคุมอุณหภูมิช่วยในการประกอบรถยนต์ เป็นต้น มีผลช่วยเพิ่มผลผลิตทางด้านปริมาณ และคุณภาพ รวมทั้งสามารถตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ได้
คอมพิวเตอร์กับการบันเทิง
การนำคอมพิวเตอร์ใช้ร่วมกับงานด้านบันเทิงไม่ว่าจะเป็น ด้านภาพยนตร์ การดนตรีการเต้นรำหรือ ทางด้านศิลปะก็ตาม เป็นการปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น เช่น ด้านดนตรี โดยที่มีโปรแกรมใช้ควบคุมเครื่องซินทีไซเซอร์ ( Synthesizer) ผู้ใช้สามารถปรับปรุงเสียงของดนตรีได้ตามต้องการและทำให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น การพิมพ์โน๊ตเพลง
คอมพิวเตอร์กับตลาดหลักทรัพย์
ในการซื้อขายหุ้นก็มีการนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย เช่น งานทะเบียนหุ้น โดยเก็บรายชื่อผู้ถือหุ้น งานหักบัญชีโอนหุ้นระหว่างสมาชิกในการซื้อขายหุ้นของสมาชิกในแต่ละวัน
คอมพิวเตอร์กับธุรกิจโรงแรม
ปัจจุบันได้มีการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาเชื่อมต่อตามจุดบริการต่าง ๆ ของโรงแรม เช่น แผนกต้อนรับ ( Reception ) บาร์ ภัตตาคารในโรงแรม แผนกบริการจองห้องพัก Cashier เป็นต้น ข้อมูลการใช้บริการของลูกค้าในส่วนต่าง ๆ จะถูกเก็บรวบรวมไว้ และเมื่อเวลาลูกค้าต้องการจะออกจากโรงแรม (Check Out) ทางแคชเชียร์ ( Cashier) สามารถรวบรวมค่าใช้จ่ายของลูกค้าว่าไปใช้บริการที่จุดใดบ้างทันที เช่น ใช้บริการค่าห้องพัก ค่าอาหาร ค่าบาร์ ฯลฯ
บริษัททั่วไปมักใช้คอมพิวเตอร์ในงานหลายอย่างซึ่งก่อให้เกิดความสะดวกต่อผู้ใช้และลูกค้าเช่น การพิมพ์ใบสั่งสินค้า การพิมพ์ใบเสร็จ การทำบัญชีลูกค้า การควบคุมสินค้าคงคลัง การจ่ายเงินเดือน การคำนวณค่าแรงพนักงาน การทำบัญชีลูกหนี้เจ้าหนี้
คอมพิวเตอร์กับธนาคาร
ธนาคารพาณิชย์ทั่วไปนำคอมพิวเตอร์ไปใช้ในงานด้านต่าง ๆ เช่น การบริการลูกค้าโดยช่วยด้านการฝาก - ถอนเงินของลูกค้า ทำให้สามารถฝาก - ถอนได้ต่างสาขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำระบบการบริการเงินอัตโนมัติหรือเอทีเอ็ม ( Automatic Teller Machine) ซึ่งเป็นระบบ On - line Banking ซึ่งสามารถทำให้ฝาก - ถอนเงินสดได้อย่างรวดเร็ว งานด้านภายในของธนาคารที่จำเป็นต้องนำระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยจึงจะทำให้ทำงานได้ตามความต้องการของลูกค้า เช่นการนำข้อมูลเงินฝาก เช่น เลขที่บัญชียอดคงเหลือ ในบัญชี บันทึกไว้ในคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ด้านการแพทย์
ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยงานด้านการแพทย์หลายด้าน เริ่มจากการเก็บประวัติคนไข้ ในห้องทดลองประกอบการวินิจฉัยของแพทย์ใช้ในการตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ การผ่าตัดหัวใจ การตรวจสอบห้องพักผู้ป่วยว่าว่างหรือไม่ การควบคุมแสงเลเซอร์ให้เป็นวิถีทางที่ต้องการการเอ็กซ์เรย์ ซึ่งช่วยสร้างภาพหลายมิติ ทำให้การวินิจฉัยโรค และได้ตำแหน่งที่แน่นอนของโรคได้ดีขึ้น โดยเฉพาะการตรวจสมองและเช็คคลื่นหัวใจ
คอมพิวเตอร์กับการศึกษา
ในปัจจุบันได้นำคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยเกี่ยวกับงานวัดผล เช่น การเก็บข้อสอบรวบรวมไว้เป็นธนาคารข้อสอบ และคำตอบในเครื่อง สามารถให้นักศึกษาทำข้อสอบลงเครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อเสร็จแล้วก็สั่งให้คอมพิวเตอร์คำนวณหาผลคะแนนสอบของนักศึกษาได้ทันที การวัดผลวิธีนี้ทำได้อย่างสะดวก รวดเร็ว มีความแม่นยำ นอกจากนี้การใช้คอมพิวเตอร์กับการศึกษา ได้มีบทบาทมากขึ้นเมื่อผู้สอนจะเป็นผู้เริ่มเขียนโปรแกรมเอง โปรแกรมที่ใช้การศึกษาเรียกว่า Computer - Assisted Instruction ( CAI ) โปรแกรมชนิดนี้มีภาพ ข้อความและเสียง ที่ใช้ประกอบการเรียน การวิจัยต่าง ๆ
คอมพิวเตอร์กับอุตสาหกรรม
การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับงานอุตสาหกรรม เช่น ควบคุมการให้ส่วนผสม การควบคุมอุณหภูมิช่วยในการประกอบรถยนต์ เป็นต้น มีผลช่วยเพิ่มผลผลิตทางด้านปริมาณ และคุณภาพ รวมทั้งสามารถตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ได้
คอมพิวเตอร์กับการบันเทิง
การนำคอมพิวเตอร์ใช้ร่วมกับงานด้านบันเทิงไม่ว่าจะเป็น ด้านภาพยนตร์ การดนตรีการเต้นรำหรือ ทางด้านศิลปะก็ตาม เป็นการปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น เช่น ด้านดนตรี โดยที่มีโปรแกรมใช้ควบคุมเครื่องซินทีไซเซอร์ ( Synthesizer) ผู้ใช้สามารถปรับปรุงเสียงของดนตรีได้ตามต้องการและทำให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น การพิมพ์โน๊ตเพลง
คอมพิวเตอร์กับตลาดหลักทรัพย์
ในการซื้อขายหุ้นก็มีการนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย เช่น งานทะเบียนหุ้น โดยเก็บรายชื่อผู้ถือหุ้น งานหักบัญชีโอนหุ้นระหว่างสมาชิกในการซื้อขายหุ้นของสมาชิกในแต่ละวัน
คอมพิวเตอร์กับธุรกิจโรงแรม
ปัจจุบันได้มีการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาเชื่อมต่อตามจุดบริการต่าง ๆ ของโรงแรม เช่น แผนกต้อนรับ ( Reception ) บาร์ ภัตตาคารในโรงแรม แผนกบริการจองห้องพัก Cashier เป็นต้น ข้อมูลการใช้บริการของลูกค้าในส่วนต่าง ๆ จะถูกเก็บรวบรวมไว้ และเมื่อเวลาลูกค้าต้องการจะออกจากโรงแรม (Check Out) ทางแคชเชียร์ ( Cashier) สามารถรวบรวมค่าใช้จ่ายของลูกค้าว่าไปใช้บริการที่จุดใดบ้างทันที เช่น ใช้บริการค่าห้องพัก ค่าอาหาร ค่าบาร์ ฯลฯ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น